เหรียญรูปเหมือน รุ่นแรก เนื้อทองแดงเถื่อน พระอาจารย์สมภพ วัดสาลีโข พุทธาภิษกวันเสาร์ ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2512 "มหานักขัตฤกษ์เสาร์ห้า" อันหาได้ยากยิ่ง กล่าวคือ วันเสาร์ เดือน 5 ขึ้น 5 ค่ำ อันควรแก่การประกอบมหาพุทธาภิเษกเพื่อให้ได้ความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งทวีคูณ ด้วยถือเป็นวันแข็งและแรงด้วยฤทธานุภาพ หลวงพ่อสาลีโขจึงดำริจัดสร้างมงคลวัตถุ วัตถุประสงค์เพื่อนำปัจจัยมาใช้บูรณะวัดสาลีโขภิตาราม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี เพราะในขณะนั้นวัดค่อนข้างทรุดโทรมเป็นอันมาก ทั้งหมู่กุฏิ หอฉัน และหอสวดมนต์ ก็ได้หลวงพ่อนี่แหละที่บูรณาการจนกลายเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างไปเลยทีเดียว
พระมหาเถระที่มาร่วมนั่งปรกเจริญจิตภาวนานั้น ทางวัดได้ทำการแบ่งออกเป็นสองคณะ เพื่อประกอบพุทธาภิเษกในวันศุกร์และเสาร์
โดยในวันศุกร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2512 มีจำนวนทั้งสิ้น 9 รูป ประกอบด้วย
1. พระนันทวิริยาจารย์ (หลวงพ่อหลาบ) วัดใหญ่สว่างอารมณ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
2. พระครูปัญญาโชติวัฒน์ (เจริญ) วัดทองนพคุณ อ.เมือง จ.เพชรบุรี
3. พระครูประกาศสมาธิคุณ (สังเวียน) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพ
4. พระครูเมธีวรานุวัตร (ผล) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพ
5. พระครูสิริธรรมสาร (บาง) วัดหนองพลับ อ.หนองแซง จ.สระบุรี
6. พระครูปลัดศีลวัฒน์ (วิเชียร) วัดเครือวัลย์ อ.เมือง จ.ชลบุรี
7. พระครูใบฎีกาเติม วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม
8. หลวงปู่คำมี พุทธสาโร วัดถ้ำคูหาสวรรค์ อ.เมือง จ.ลพบุรี
9. พระครูกัลยาณกิตติ วัดแหลมมะขาม อ.แหลมงอบ จ.ตราด
และองค์หลวงพ่อสาลีโขเอง
ต่อจากนั้นได้จัดพิธีขึ้นในวันเสาร์ห้า ตรงกับวันเสาร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2512 มีพระมหาเถระนั่งปรก 9 รูปเช่นกันคือ
1. พระภัทรมุขมุนี (ชิต) วัดเขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
2. พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลางท่าเรือ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา
3. พระครูภาวนารังษี วัดใหญ่ชัยมงคล (วัดป่าแก้ว) อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
4. พระครูสังฆรักษ์จันทร์ วัดโสธรวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
5. หลวงพ่อแอ วัดราษฎร์ศรัทธาราม ห้วยประดู่ จ.สระบุรี
6. หลวงพ่อภักดิ์ วัดสุทธาวาส อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
7. พระอาจารย์นคร วัดเขาอิติสุคโต อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
8. หลวงพ่อมิ วัดสิงห์ บางกอกน้อย ธนบุรี กรุงเทพ
9. พระครูวินัยธรวีระ วัดสาวชะโงก อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
และที่จะขาดเสียมิได้คือองค์หลวงพ่อสาลีโขเอง จำนวนจัดสร้าง 5,000 เหรียญ
โดยในวันศุกร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2512 มีจำนวนทั้งสิ้น 9 รูป ประกอบด้วย
1. พระนันทวิริยาจารย์ (หลวงพ่อหลาบ) วัดใหญ่สว่างอารมณ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
2. พระครูปัญญาโชติวัฒน์ (เจริญ) วัดทองนพคุณ อ.เมือง จ.เพชรบุรี
3. พระครูประกาศสมาธิคุณ (สังเวียน) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพ
4. พระครูเมธีวรานุวัตร (ผล) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพ
5. พระครูสิริธรรมสาร (บาง) วัดหนองพลับ อ.หนองแซง จ.สระบุรี
6. พระครูปลัดศีลวัฒน์ (วิเชียร) วัดเครือวัลย์ อ.เมือง จ.ชลบุรี
7. พระครูใบฎีกาเติม วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม
8. หลวงปู่คำมี พุทธสาโร วัดถ้ำคูหาสวรรค์ อ.เมือง จ.ลพบุรี
9. พระครูกัลยาณกิตติ วัดแหลมมะขาม อ.แหลมงอบ จ.ตราด
และองค์หลวงพ่อสาลีโขเอง
ต่อจากนั้นได้จัดพิธีขึ้นในวันเสาร์ห้า ตรงกับวันเสาร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2512 มีพระมหาเถระนั่งปรก 9 รูปเช่นกันคือ
1. พระภัทรมุขมุนี (ชิต) วัดเขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
2. พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลางท่าเรือ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา
3. พระครูภาวนารังษี วัดใหญ่ชัยมงคล (วัดป่าแก้ว) อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
4. พระครูสังฆรักษ์จันทร์ วัดโสธรวรารามวรวิหาร อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
5. หลวงพ่อแอ วัดราษฎร์ศรัทธาราม ห้วยประดู่ จ.สระบุรี
6. หลวงพ่อภักดิ์ วัดสุทธาวาส อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
7. พระอาจารย์นคร วัดเขาอิติสุคโต อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
8. หลวงพ่อมิ วัดสิงห์ บางกอกน้อย ธนบุรี กรุงเทพ
9. พระครูวินัยธรวีระ วัดสาวชะโงก อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา
และที่จะขาดเสียมิได้คือองค์หลวงพ่อสาลีโขเอง จำนวนจัดสร้าง 5,000 เหรียญ
กอบทรัพย์พระใหม่ (www.kobsub.com)
โทร.081-661-9989, 083-956-6942
Email:kobsub@hotmail.com
LINE ID:kobsub